แสดงกระทู้

This section allows you to view all posts made by this member. Note that you can only see posts made in areas you currently have access to.


Messages - waanbotan_

หน้า: [1]
1
สำหรับใครที่กำลังมีความจำเป็นต้องโอนเงินไปต่างประเทศไม่ว่าจะโอนไป องค์กร บริษัท หรือร้านค้าที่อยู่ต่างประเทศ ส่วนใหญ่แล้วจะชำระด้วยระบบ การโอนเงินระหว่างประเทศ [pr]ผ่านธนาคาร จะทำอย่างไรให้รวดเร็ว

เช็กรอบบิลที่ต้องจ่ายล่วงหน้า
หลังจากเช็กรอบบิลที่ต้องจ่าย วันที่กำหนด จำนวนเงิน หากไม่แน่ใจว่าจะโอนเงินทันหรือไม่ แนะนำให้สอบถามกับธนาคารที่ทำรายการก่อนล่วงหน้าว่า การโอนเงินระหว่างประเทศ [pr]   ผ่านswiftcodeใช้เวลากี่วัน เพื่อกะเวลาให้พอดี และจะได้รู้ไว้เป็นข้อมูลสำหรับการโอนเงินในครั้งต่อไปด้วย โดยปกติแล้วการโอนเงินแบบ Swift Code ใช้เวลา 1 - 2 วัน แต่ผู้โอนควรต้องมีการเผื่อเวลามากกว่านี้ เนื่องจากเงื่อนไขของเวลานั้นยังต้องคำนึงถึงกระบวนการที่ธนาคารแต่ละแห่งจะต้องดำเนินการหลังจากที่ผู้โอนทำรายการไปแล้ว เช่น ต้องมีการตรวจสอบการยืนยันตัวตนเพิ่ม หรือต้องมีการติดต่อกลับธนาคารต้นทาง และยังต้องคำนึงถึงปัญหาของรายการเอกสารผิดพลาดโดยไม่ได้ตั้งใจที่อาจเกิดขึ้นได้

กรอกข้อมูลโอนเงินข้ามประเทศอย่าให้ผิด
เอกสารและข้อมูลบัญชีสำหรับการโอนเงินระหว่างประเทศ สำคัญมาก ต้องตรวจอย่างละเอียดและอย่าให้มีการผิดพลาด บ่อยครั้งที่พบว่าผู้โอนใส่เลขที่ผิดการโอนเงินจึงไม่เข้าบัญชีผู้รับ แม้แต่คนที่โอนเงินบ่อย ๆ ก็ยังพลาดกันได้ทำให้เสียเวลาในการติดตามเงินคืนอีกหลายวัน
การโอนเงินไปต่างประเทศส่วนใหญ่ใช้วิธีโอนเงินไปต่างประเทศระบบ swift code [pr] เป็นหลัก เพราะเป็นระบบมาตรฐานสากล ข้อมูลรหัสธนาคารจึงสำคัญและพลาดไม่ได้เช่นกัน ยกตัวอย่าง Swift Code ธ.กรุงไทย คือ KRTHTHBK สิ่งที่อาจเกิดขึ้นได้ก็คือผู้โอนใส่ Swift Code ผิดธนาคาร ซึ่งทำให้ต้องติดต่อธนาคารต้นทางเพื่อแก้ไขใหม่เสียเวลามากขึ้นไปอีก

โอนเพื่อสิ่งใดต้องมีเอกสารประกอบ
การ โอนเงินไปต่างประเทศ ต้องมีเอกสารประกอบเพื่อแสดงวัตถุประสงค์การโอน  เช่น การโอนชำระค่าสินค้า ต้องแนบใบแจ้งหนี้ Statement ที่เรียกเก็บเงิน การโอนเพื่อชำระค่าเรียนจะต้องใช้เอกสารจากมหาวิทยาลัยหรือใบแจ้งเก็บค่าเทอมจากโรงเรียน เป็นต้น  เพื่อเป็นการบ่งบอกว่าเราต้องการโอนเงินเพื่อวัตถุประสงค์อะไรอย่างชัดเจน ข้อนี้เป็นเงื่อนไขอย่างหนึ่งในแอพโอนเงินไปต่างประเทศ ที่แบงก์ชาติกำหนดไว้และธนาคารพาณิชย์ต้องปฏิบัติตาม

ถือว่าสะดวกสบายเป็นอย่างมาก ไม่ต้องเดินทาง และไม่ต้องกังวลเรื่องเวลาและเอกสาร สามารถดาวน์โหลดแอพโอนเงินต่างประเทศ [pr] Krungthai NEXT ไว้ในสมาร์ทโฟน หรือใช้บริการผ่าน www.ktbnetbank.com [pr] แล้วสมัครใช้บริการด้วยขั้นตอนการโอนเงินไปต่างประเทศที่เร็วขึ้น

2
ปฏิเสธไม่ได้เลยว่าการ เปิดบัญชีให้ลูก เป็นอีกสิ่งหนึ่งที่พ่อแม่ผู้ปกครองนิยมทำกันมาก เพราะนอกจากเพื่ออนาคตทางการเงินที่ดีของลูกแล้ว หลายครอบครัวยังใช้ปลูกฝังนิสัยการออมเงินให้กับลูกด้วยบัญชีธนาคารในลักษณะนี้ด้วยเช่นกัน แต่บัญชีที่เปิดให้กับลูกมีอยู่ด้วยกันกี่ประเภท ให้ผลตอบแทนอย่างไร บัญชีธนาคารไหนน่าสนใจ และต้องใช้เอกสารอะไรในการ เปิดบัญชีให้ลูก บ้างนั้นตามมาดูพร้อม ๆ กัน

ประเภทบัญชีแบบต่าง ๆ
บัญชีเงินฝากประจำรายเดือนปลอดภาษี บัญชีประเภทนี้จะกำหนดเงื่อนไขว่าผู้ปกครองต้องฝากเงินเข้าบัญชีต่อเนื่องทุกเดือนด้วยยอดเงินเท่ากัน หากทำได้ตามเงื่อนไขนี้ก็จะได้รับการยกเว้นภาษีดอกเบี้ย
บัญชีออมทรัพย์เพื่อการออมเงินสำหรับลูก บัญชีประเภทนี้เปิดให้ฝากได้ตั้งแต่แรกเกิดจนล่วงเข้าสู่ช่วงวัยรุ่น ไม่จำเป็นต้องฝากเงินต่อเดือนเป็นจำนวนมาก แค่ประมาณ 500 บาทก็เพียงพอ และยังได้รับการยกเว้นภาษีดอกเบี้ยเงินฝากอีกด้วย
บัญชีดอกเบี้ยพิเศษหรือโบนัสกระตุ้นการออมเงิน บัญชีประเภทนี้แท้จริงแล้วก็คือบัญชีออมทรัพย์ปกติ แต่เพิ่มความพิเศษเข้ามาตรงที่อัตราดอกเบี้ยจะสูงกว่าบัญชีออมทรัพย์ทั่วไป และมีโบนัสเพิ่มดอกเบี้ยให้เมื่อมียอดเงินฝากมากกว่าปกติในแต่ละเดือน

ตอนนี้เชื่อว่าพ่อแม่ผู้ปกครองน่าจะพอมีประเภทบัญชีเงินฝากในใจบ้างแล้ว ต่อไปเราจะเตรียมเอกสารเพื่อใช้ เปิดบัญชีให้ลูก ไปพร้อมกัน
เด็กอายุแรกเกิดจนถึง 15 ปี - ใช้สูติบัตร สำเนาทะเบียนบ้านที่มีชื่อของเด็ก และบัตรประชาชนของผู้ปกครอง
เด็กอายุตั้งแต่ 15 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป ซึ่งมีบัตรประชาชนของตนเองเรียบร้อยแล้ว – ใช้บัตรประชาชนของเด็ก และสำเนาทะเบียนบ้าน
เด็กที่อยู่ในความดูแลของผู้ปกครองซึ่งไม่ใช่พ่อแม่ตามสายเลือด - ใช้สูติบัตร สำเนาทะเบียนบ้านที่มีชื่อของเด็ก บัตรประชาชนของผู้ปกครอง และคำสั่งศาลแต่งตั้งผู้ปกครองผู้เยาว์หรือเอกสารรับบุตรบุญธรรม (ถ้ามี)

เปิดบัญชีออนไลน์ [pr]ให้ลูก ที่ธนาคารไหนดี
ธนาคารออมสิน - บัญชีเงินฝาก Youth Saving กำหนดอายุไว้ที่ 7 - 23 ปี ฝากครั้งแรกขั้นต่ำ 100 บาท จากนั้นกำหนดให้ฝากเพิ่มครั้งละไม่ต่ำกว่า 50 บาท ให้อัตราดอกเบี้ยเป็น 2 เรท ได้แก่ เงินฝากต่ำกว่า 100,000 บาท 1.25% ต่อปี และเงินฝาก 100,000 บาทขึ้นไป 0.50% ต่อปี มีการให้ดอกเบี้ยพิเศษเพิ่มอีกปีละ 2 ครั้ง โดยไม่หักภาษีดอกเบี้ย เหมาะกับผู้ปกครองที่สะดวกเพิ่มยอดเงินฝากมากขึ้นเรื่อย ๆ ครั้งละไม่ต่ำกว่า 50 บาท ตามเงื่อนไขที่ธนาคารกำหนด
ธนาคารกรุงไทย - เงินฝากออมทรัพย์พิเศษสำหรับผู้เยาว์ (KTB Kids Savings) โดดเด่นด้วยคุณสมบัติฝาก ถอน โอน ได้ตลอดไม่จำกัดจำนวนครั้ง และไม่จำเป็นต้องฝากต่อเนื่องกันเป็นประจำทุกเดือน เปิดบัญชีครั้งแรกฝากขั้นต่ำ 2,000 บาท ครั้งต่อไปเท่าไรก็ได้ไม่จำกัดยอด แต่กำหนดให้เงินฝากสูงสุดไม่เกิน 1 ล้านบาท เปิดบัญชีได้ตั้งแต่แรกเกิด – 15 ปี อัตราดอกเบี้ยเท่ากับบัญชีออมทรัพย์ แต่หากฝากเงินมากกว่ายอดถอนจะได้รับโบนัสเพิ่ม 100% ของดอกเบี้ยที่ได้รับทุกวันต้นเดือนหลังจากเดือนที่จ่ายดอกเบี้ย เมื่อเด็กอายุครบ 15 ปีบริบูรณ์ บัญชีนี้จะถูกปรับเป็นบัญชีออมทรัพย์ปกติ เหมาะกับผู้ปกครองที่ต้องการความคล่องตัวในการฝาก ถอน และโอนเป็นอย่างมาก
ธนาคารกสิกรไทย - เงินฝากทวีทรัพย์ พ่อแม่ผู้ปกครองสามารถ เปิดบัญชีให้ลูก ที่มีอายุต่ำกว่า 12 ปีได้ หรือจะพาลูกที่มีอายุมากกว่า 12 ปีขึ้นไปมาเปิดบัญชีเป็นชื่อของลูกก็ได้เช่นกัน บัญชีนี้เป็นบัญชีฝากประจำ [pr]ปลอดภาษี กำหนดให้ออมเงินขั้นต่ำ 500 บาทต่อเดือน เป็นจำนวนเท่า ๆ กันทุกเดือน ต่อเนื่องเป็นเวลา 2 ปี เหมาะกับผู้ปกครองที่ต้องการตัดเงินเข้าบัญชีเท่า ๆ กันทุกเดือนเป็นระยะเวลา 2 ปี เพื่อความสะดวก
ธนาคารกรุงเทพ - บัญชีเงินฝากสินมัธยะทรัพย์ทวี – บัวหลวงคิดส์ เปิดบัญชีได้ตั้งแต่แรกเกิด – 14 ปี ให้ดอกเบี้ยฝากประจำ [pr]สูงกว่าบัญชีฝากประจำ 12 เดือน ได้รับยกเว้นภาษีดอกเบี้ย เมื่อฝากเงินเท่ากันทุกเดือนเป็นเวลา 2 ปี เลือกยอดเงินฝากได้ตั้งแต่ 500 - 25,000 บาท และมีจำนวนเงินฝากสูงสุดในบัญชีไม่เกิน 600,000 บาท เหมาะกับผู้ต้องการเปิดบัญชีฝากประจำให้กับลูก

อย่างไรก็ตามนอกจากเรื่องเกี่ยวกับเอกสารและการเปรียบเทียบอัตราดอกเบี้ยจากธนาคารต่าง ๆ แล้ว อีกหนึ่งสิ่งที่พ่อแม่ผู้ปกครองควรคำนึงถึงก่อนตัดสินใจ เปิดบัญชีฝากประจำ   ให้ลูก นั่นก็คือสไตล์การใช้จ่ายเงินของตนเอง เพราะหากต้องการความคล่องตัวสูงก็ไม่ควรเลือกบัญชีที่มีข้อจำกัดมากเกินไป แต่หากต้องการฝึกวินัยทางการเงินก็ควรเลือกบัญชีฝากประจำเพื่อให้มีเงินเข้าบัญชีอย่างต่อเนื่อง ทั้งหมดนี้พ่อแม่ผู้ปกครองควรประเมินก่อนตัดสินใจเลือกเพื่อพร้อมเพย์คือ [pr] ให้ได้บัญชีเงินฝากที่เหมาะกับสไตล์การออมเงินของครอบครัวมากที่สุด

3
งบน้อย เงินเดือนน้อยแต่มีเงินได้ทางเดียวคงไม่คุ้มอีกต่อไป ปัจจุบันการมีช่องทางสร้างรายได้มากกว่าหนึ่งช่องทางถือเป็นเรื่องที่สำคัญ เพราะยิ่งมีรายได้หลายช่องทางก็จะยิ่งเพิ่มความมั่นคงทางการเงินได้มากเท่านั้น วันนี้เราขอพาสายลงทุนมือใหม่ มารู้จักกับการลงทุนแบบต่างๆ ที่มีทั้งตอบโจทย์ลงทุนอะไรดีความเสี่ยงน้อย [pr]เสี่ยงเยอะ

ก่อนลงทุนควรประเมินก่อนว่าสามารถรับความเสี่ยงได้มากน้อยแค่ไหน เพราะการลงทุนมีความเสี่ยง และยิ่งมีความเสี่ยงมากเท่าไหร่ยิ่งให้ผลตอบแทนสูงเท่านั้น แต่ก็มีความเสี่ยงที่จะขาดทุนสูงเช่นกัน แล้วแบบไหนที่เสี่ยงต่ำบ้าง

เงินฝาก ลงทุนอะไรดีเสี่ยงน้อย หากไม่มีความรู้เรื่องการลงทุน การออมเงินและฝากเอาไว้ในธนาคารเป็นการลงทุนที่ปลอดภัยที่สุด เพราะเงินของเราจะได้รับเงินปันผลตามอัตราดอกเบี้ยที่ธนาคารกำหนด ซึ่งการฝากประจำเป็นการลงทุนที่ให้ดอกเบี้ยสูงกว่าการฝากเงินออมทรัพย์
พันธบัตร พันธบัตรเป็นตราสารหนี้ที่ออกโดยรัฐบาลหรือบริษัทเอกชน มีความเสี่ยงต่ำกว่าหุ้น แต่มีความเสี่ยงสูงกว่าเงินฝาก ผลตอบแทนของพันธบัตรจะแตกต่างกันไปตามประเภทของพันธบัตรและอายุของพันธบัตร

กองทุนรวมตราสารหนี้ การลงทุนที่รวบรวมเงินของนักลงทุนมาลงทุนในตราสารหนี้ กองทุนรวมตราสารหนี้มีความเสี่ยงต่ำกว่าการลงทุนในตราสารหนี้โดยตรง ผลตอบแทนของกองทุนรวมตราสารหนี้จะแตกต่างกันไปตามประเภทของกองทุนรวมและนโยบายการลงทุนของกองทุน
หุ้น เจ้าของหุ้นจะได้รับผลตอบแทนจากบริษัทในรูปแบบของเงินปันผลและกำไรจากลงทุนหุ้นต่างประเทศ [pr]  โดยการลงทุนในหุ้นมีความเสี่ยงสูงแต่ผลตอบแทนก็สูงเช่นกัน

กองทุนรวมหุ้น การลงทุนที่รวบรวมเงินของนักลงทุนมาลงทุนในหุ้น กองทุนแนะนำ ผลตอบแทนของกองทุนรวมหุ้นจะแตกต่างกันไปตามประเภทของกองทุนรวมและนโยบายการลงทุนของกองทุน สามารถลองศึกษากองทุนรวมที่น่าสนใจ [pr]หรือแนะนำกองทุน [pr]ได้

หากเป็นมือใหม่เริ่มต้นลงทุนและมีข้อจำกัดด้าน งบน้อยลงทุนอะไรดี แนะนำกองทุนรวมที่น่าสนใจ ควรเริ่มต้นด้วยการศึกษาข้อมูลด้านการลงทุนให้ดี ลองทำแบบทดสอบความเสี่ยงก่อน อาจเริ่มจากการลงทุนในเครื่องมือที่ตัวเองเข้าใจมากที่สุด เช่น เงินฝาก หรือการซื้อกองทุนรวมที่สามารถลงทุนได้ง่าย ๆ ผ่านแอปพลิเคชัน Krungthai NEXT จากนั้นจึงค่อยขยับไปลงทุนในเครื่องมือที่มีความเสี่ยงสูงขึ้น

4
ทุกวันนี้มีการทำประกันชีวิตหลายรูปแบบ ทางเลือกหนึ่งที่กำลังได้รับความสนใจไม่น้อยเป็นการทำ ประกันชีวิตควบการลงทุน คือ ประกันชีวิตที่มาพร้อมกับการลงทุนในกองทุนรวมหรือเรียกว่า ]United Link] [pr]]United Link[/url] เป็นประกันที่มีความยืดหยุ่นมาก สามารถปรับเปลี่ยนสัดส่วนความคุ้มครองและเงินลงทุนได้ตามใจเรา มาไขข้อสงสัยกันว่าประกัน unit link มีจุดเด่นอย่างไร แตกต่างจากประกันชีวิตทั่วไปอย่างไร

ประกันชีวิตควบการลงทุนเป็นประกันที่คุ้มครองชีวิตส่วนหนึ่ง และลงทุนในกองทุนรวมอีกส่วนหนึ่ง จัดเป็นประกันที่มีความพิเศษเพราะให้ความคุ้มค่าสองต่อ มีความยืดหยุ่นสูง สามารถเลือกลงทุนในสินทรัพย์ที่ต้องการได้เองผ่านกองทุนรวม ไม่ว่าจะเป็นสินทรัพย์ที่มีความเสี่ยงต่ำเพื่อที่ราคาผันผวนน้อย เน้นความปลอดภัยของเงินต้น ไล่ไปจนกระทั่งสินทรัพย์ที่มีความเสี่ยงสูง เน้นสร้างผลตอบแทนสูง ราคาจึงผันผวนได้มากเพื่อแลกกับผลตอบแทนที่มากขึ้นนั่นเอง
กล่าวสรุปสั้น ๆ ให้เข้าใจง่าย ๆ ว่า เมื่อผู้เอาประกันจ่ายเบี้ยประกันให้บริษัทประกันชีวิตไปแล้ว บริษัทประกันก็จะแบ่งเงินออกเป็น 3 ส่วน ดังนี้

1.เงินประกันในส่วนของความคุ้มครองชีวิต ตามจำนวนทุนประกันที่กรมธรรม์กำหนดเอาไว้ หมายถึงเงินที่ได้รับภายหลังเสียชีวิต จะรับเงินมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับจำนวนทุนเอาประกันภัย รวมถึงความเสี่ยงของเพศและอายุ
2.ต้นทุนการดำเนินการของบริษัท เช่น ค่านายหน้า ค่าใช้จ่ายในการดำเนินการ
3.เงินลงทุนในกองทุนรวม เป็นเงินส่วนที่บริษัทประกันนำไปบริหารการลงทุนเอง และจ่ายผลตอบแทนกลับมาเป็นรายได้ให้กับบริษัทและเป็นผลประโยชน์ของผู้ถือกรมธรรม์หรือผู้รับผลประโยชน์ ไม่ว่าจะอยู่ในรูปของ “เงินสด” ที่สะสมไว้ในกรมธรรม์ประกันชีวิต, “เงินคืน” ที่จ่ายให้กับผู้ทำประกัน หรือ “เงินปันผล” ที่เป็นผลประโยชน์เพิ่มเติมจากที่กำหนดไว้ในกรมธรรม์
ประกันชีวิต Unit-Link แบ่งเบี้ยประกันออกเป็น 3 ส่วนเหมือนกัน ซึ่งผู้เอาประกันกำหนดได้เองว่าสัดส่วนเป็นเท่าไร จะจ่ายเบี้ยเน้นความคุ้มครองหรือจ่ายเบี้ยเน้นการลงทุนก็ได้ ทำให้มีโอกาสได้รับผลตอบแทนมากกว่าประกันแบบดั้งเดิม

สำหรับมือใหม่ที่ยังสงสัยอยู่ว่า unit link ดีไหม ถ้าใครต้องการกำหนดสัดส่วนความคุ้มครองและเงินลงทุนเอง ก็เท่ากับได้อิสระจากความยืดหยุ่นของ unit link สามารถเลือกจำนวนเบี้ยที่อยากจ่ายและทุนประกันที่อยากได้ด้วยตัวเอง จึงดีและเหมาะกับคนที่ต้องการอิสระในการกำหนดสัดส่วนของความคุ้มครองและเงินลงทุนด้วยตัวเอง

ประกันยูนิตลิงค์ แบ่งออกได้เป็น 2 แบบ

1.แบบชำระค่าเบี้ยประกันหลักเพียงครั้งเดียว เริ่มต้นขั้นต่ำโดยเฉลี่ยประมาณ 100,000 บาท กรณีนี้ไม่สามารถซื้อสัญญาเพิ่มเติม แต่ลงทุนเพิ่มเติมได้แบบที่ไม่มีความคุ้มครองให้
2.แบบชำระค่าเบี้ยประกันหลักรายงวด จะจ่ายรายเดือน, ราย 3 เดือน, ราย 6 เดือน หรือจ่ายรายปีก็ได้ จำนวนเงินเอาประกันภัยขั้นต่ำราว 200,000 บาท หากอยากได้ความคุ้มครองสูงก็เลือกทุนประกันที่สูงขึ้น หรือจะปรับลดทุนประกันชีวิตก็เลือกได้ตามความเหมาะสม

เปรียบเทียบประกันชีวิตแบบสามัญทั่วไปกับ unit link

-เบี้ยประกันภัย ประกันชีวิตทั่วไปจ่ายเบี้ยตามอัตราที่บริษัทประกันกำหนดไว้ ส่วนยูนิตลิงค์มีความยืดหยุ่นสูง เลือกจำนวนเบี้ยประกันที่จะชำระได้เอง
-ความคุ้มครองชีวิต ประกันชีวิตทั่วไปรับเงินเป็นจำนวนที่แน่นอน ส่วนยูนิตลิงค์อาจได้รับความคุ้มครองชีวิตสูงกว่าจำนวนเงินเอาประกันภัย
-นโยบายการลงทุน ประกันชีวิตทั่วไปมีบริษัทประกันชีวิตนำเงินไปลงทุน ส่วนยูนิตลิงค์ให้ผู้เอาประกันภัยเลือกลงทุนในกองทุนรวมเอง
-ผลตอบแทน ประกันชีวิตทั่วไปให้ผลตอบแทนคงที่แน่นอน ส่วนยูนิตลิงค์ไม่การันตีผลตอบแทน เพราะการลงทุนอาจได้รับเงินมากขึ้นหรือน้อยลงก็ได้
-เปิดเผยค่าใช้จ่าย ประกันชีวิตทั่วไปไม่เปิดเผยค่าใช้จ่าย ส่วนยูนิตลิงค์เปิดเผยค่าใช้จ่ายชัดเจน
-ผลประโยชน์ด้านภาษี ประกันชีวิตทั่วไปใช้สิทธิลดหย่อนภาษีได้ถึง 100,000 บาท ส่วนยูนิตลิงค์ลดหย่อนภาษีได้เฉพาะค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับประกันชีวิตสูงสุด 100,000 บาท ไม่รวมส่วนของการลงทุน

สรุปง่าย ๆ ว่า unit link คือ การทำประกันชีวิตและการลงทุนควบคู่กันไป ทำให้มีโอกาสสร้างผลตอบแทนที่สูงขึ้นได้ เป็นเรื่องที่ไม่ว่าใครก็ไม่ควรมองข้าม ถ้าไม่อยากพลาดโอกาสดี ๆ ลองใช้เวลาศึกษาให้เข้าใจอย่างรอบคอบและละเอียดถี่ถ้วน ประกันมะเร็ง [pr] ประกันเงินบำนาญ [pr]    ก่อนวางแผนลงทุนเพื่อความมั่นคงทางการเงินและความมั่นคงในชีวิต ประกันการเดินทางต่างประเทศ [pr]

หน้า: [1]